วิธีระบบกับเทคโนโลยีการศึกษา
1. จงอธิบายว่าวิธีระบบเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีการศึกษาอย่างไร
วิธีระบบ คือ การทำงานร่วมกันของสิ่งต่างๆ ที่ได้ออกแบบไว้เพื่อให้มีความสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่องและนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่ได้วางไว้
เทคโนโลยีการศึกษา คือ กระบวนการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการเรียนการสอนอย่างมีเหตุผลและเป็นระบบโดยมีการวางแผนออกแบบคิดค้นและพัฒนาวิธีการและเครื่องมือเพื่อนำมาใช้แก้ปัญหาทางการศึกษาในด้านต่างๆ เช่น กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีการกำหนดปัญหา ตั้งสมมุติฐาน วิเคราะห์ข้อมูลและดำเนินการทดลองที่สามารถนำมาใช้ในการนำเสนอ แสดง และถ่ายทอดเนื้อหาทางการศึกษาได้อย่างเหมาะสมมีประสิทธิภาพ
วิธีระบบกับเทคโนโลยีการศึกษา คือ การนำเอาวิธีการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการวางแผนการเรียนการสอนหรือการนำเอาเทคโนโลยีการสอนมาใช้ในการจัดระบบการเรียนการสอน เพื่อให้เกิดผลสำเร็จในการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
วิธีระบบ คือ การทำงานร่วมกันของสิ่งต่างๆ ที่ได้ออกแบบไว้เพื่อให้มีความสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่องและนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่ได้วางไว้
เทคโนโลยีการศึกษา คือ กระบวนการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการเรียนการสอนอย่างมีเหตุผลและเป็นระบบโดยมีการวางแผนออกแบบคิดค้นและพัฒนาวิธีการและเครื่องมือเพื่อนำมาใช้แก้ปัญหาทางการศึกษาในด้านต่างๆ เช่น กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีการกำหนดปัญหา ตั้งสมมุติฐาน วิเคราะห์ข้อมูลและดำเนินการทดลองที่สามารถนำมาใช้ในการนำเสนอ แสดง และถ่ายทอดเนื้อหาทางการศึกษาได้อย่างเหมาะสมมีประสิทธิภาพ
วิธีระบบกับเทคโนโลยีการศึกษา คือ การนำเอาวิธีการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการวางแผนการเรียนการสอนหรือการนำเอาเทคโนโลยีการสอนมาใช้ในการจัดระบบการเรียนการสอน เพื่อให้เกิดผลสำเร็จในการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ให้สร้างระบบการสอนที่ดีในทัศนะของนักศึกษาพร้อมทั้งอธิบายองค์ประกอบต่างๆ มาให้เข้าใจ
ระบบการสอนที่ดีตามทัศนะคติ คือ การสอนแบบเน้นตัวผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยส่วนใหญ่แล้วจะเน้นด้านการ ฟัง พูด อ่าน เขียน หรือการเรียนแบบทำความเข้าใจมากกว่าการเรียนที่เนื้อไวยากรณ์เป็นหลัก เพื่อที่จะได้นำความรู้ไปใช้ในการสื่อสารเเละรับฟังรวมทั้งสามารถ คิด วิเคราะห์ เเยกเเยะเเละเเก้ปัญหาต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยยึดผู้เรียนเป็นหลักเสมอ ซึ่งดิฉันได้เเบ่งเป็นขั้นตอน/ รวมไปถึงอธิบายประกอบคร่าวๆ ดังนี้
1. การกำหนดวัตถุประสงค์ เป็นการกำหนดวัตถุประสงค์ของระบบการสอนว่าจะกำหนดเป็นวัตถุประสงค์เฉพาะหรือเป็นวัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรมที่ผู้เรียนสามารถปฏิบัติและผู้สอนสามารถวัดและสังเกตได้
2. การกำหนดเนื้อหา เป็นการเลือกเนื้อหาที่เหมาะสมเพื่อกำหนดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และบรรลุตามวัตถุประสงค์
เชิงพฤติกรรมที่ตั้งไว้
3. ลักษณะของผู้ เรียน เป็นการสำรวจเพื่อพิจารณาถึงภูมิหลังของผู้เรียนแต่ละคนทางด้านสังคม การศึกษาและสภาพเศรษฐกิจ เพื่อความสะดวกในการจัดสภาพการเรียนรู้ และวิธีการเรียนให้เหมาะสมตามสภาพความสามารถ และความสนใจของผู้เรียน
4. กิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอนจะต้องคำนึงถึงแบบแผนที่สำคัญ 3 ประการ
คือ การนำเสนอเนื้อหาบทเรียนในชั้นเรียนควรเป็นรูปแบบใด วิธีการเรียนองผู้เรียนควรจะเป็นแบบใด กิจกรรมที่จะให้เกิดมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้ เรียนควรมีอะไรบ้าง
5. การกำหนดเวลาเรียน การใช้เวลาในการเรียนการสอนจะขึ้นอยู่กับเนื้อหาที่จะเรียน วัตถุประสงค์ สถานที่และความสนใจของผู้ เรียน
6. การจัดสถานที่เรียน จะขึ้นอยู่กับจำนวนของผู้เรียน
7. การเลือกสรรทรัพยากร เป็นการที่ผู้สอนเลือกสื่อการสอนที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ เนื้อหา วิธีการสอนและขนาดของกลุ่มผู้ เรียน เพื่อให้การสอนบรรลุตามวัตถุประสงค์
8. การนำไปใช้ เป็นขั้นตอนที่สำคัญที่จะทำให้เราทราบว่า การเรียนการสอนของเรานั้น บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้มากน้อยเพียงได้ โดยจะเป็นการให้ทำเเบบทดสอบต่างๆ ซึ่งถ้าหากไม่บรรลุตามผลที่คาดหวังหรือไม่ผ่านตามกฎเกณฑ์ที่กำหนดไว้ได้ก็จะต้องจัดการเรียนการสอนให้อีกครั้งเเต่ถ้าบรรลุตามผลลัพธ์ที่วางไว้ก็ถือว่าประสบผลสำเร็จในการจัดการเรียนการสอน
9. การประเมินผล เป็นการคำนึงถึงผลลัพธ์ที่ได้ รวมไปทั้งปฏิกิริยาตอบกลับจากทุกๆทิศทาง (feedback) ทั้งจากตัวผู้เรียนเอง ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดการเรียนการสอน เป็นต้น เพื่อจะนำมาเป็นข้อเปรียบเทียบ ปรับปรุงแก้ไขรวมไปทั้งพัฒนารูปแบบระบบการเรียนการสอนให้เหมาะสมมีประสิทธิภาพที่ดีขึ้นกว่าเดิม
10. การวิเคราะห์ข้อมูลย้อนกลับ หลังจากการประเมินผลสิ้นสุดลง จะทำให้ทราบว่าผลที่เกิดขึ้นนั้นเป็นไปตามวัตถุ ประสงค์ ที่ตั้งไว้มากน้อยเพียงใด ถ้าผลที่เกิดขึ้นไม่เป็นไปตามวัตถุ ประสงค์ ที่ตั้งไว้ก็จะต้องวิ เคราะห์ ผลย้อนกลับมาพิจารณาว่า ในการดำเนินการตั้งแต่เริ่มต้นมี ข้อบกพร่องที่ใดในระบบ ทั้งนี้เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขระบบการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
3. ลักษณะของผู้ เรียน เป็นการสำรวจเพื่อพิจารณาถึงภูมิหลังของผู้เรียนแต่ละคนทางด้านสังคม การศึกษาและสภาพเศรษฐกิจ เพื่อความสะดวกในการจัดสภาพการเรียนรู้ และวิธีการเรียนให้เหมาะสมตามสภาพความสามารถ และความสนใจของผู้เรียน
4. กิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอนจะต้องคำนึงถึงแบบแผนที่สำคัญ 3 ประการ
คือ การนำเสนอเนื้อหาบทเรียนในชั้นเรียนควรเป็นรูปแบบใด วิธีการเรียนองผู้เรียนควรจะเป็นแบบใด กิจกรรมที่จะให้เกิดมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้ เรียนควรมีอะไรบ้าง
5. การกำหนดเวลาเรียน การใช้เวลาในการเรียนการสอนจะขึ้นอยู่กับเนื้อหาที่จะเรียน วัตถุประสงค์ สถานที่และความสนใจของผู้ เรียน
6. การจัดสถานที่เรียน จะขึ้นอยู่กับจำนวนของผู้เรียน
7. การเลือกสรรทรัพยากร เป็นการที่ผู้สอนเลือกสื่อการสอนที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ เนื้อหา วิธีการสอนและขนาดของกลุ่มผู้ เรียน เพื่อให้การสอนบรรลุตามวัตถุประสงค์
8. การนำไปใช้ เป็นขั้นตอนที่สำคัญที่จะทำให้เราทราบว่า การเรียนการสอนของเรานั้น บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้มากน้อยเพียงได้ โดยจะเป็นการให้ทำเเบบทดสอบต่างๆ ซึ่งถ้าหากไม่บรรลุตามผลที่คาดหวังหรือไม่ผ่านตามกฎเกณฑ์ที่กำหนดไว้ได้ก็จะต้องจัดการเรียนการสอนให้อีกครั้งเเต่ถ้าบรรลุตามผลลัพธ์ที่วางไว้ก็ถือว่าประสบผลสำเร็จในการจัดการเรียนการสอน
9. การประเมินผล เป็นการคำนึงถึงผลลัพธ์ที่ได้ รวมไปทั้งปฏิกิริยาตอบกลับจากทุกๆทิศทาง (feedback) ทั้งจากตัวผู้เรียนเอง ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดการเรียนการสอน เป็นต้น เพื่อจะนำมาเป็นข้อเปรียบเทียบ ปรับปรุงแก้ไขรวมไปทั้งพัฒนารูปแบบระบบการเรียนการสอนให้เหมาะสมมีประสิทธิภาพที่ดีขึ้นกว่าเดิม
10. การวิเคราะห์ข้อมูลย้อนกลับ หลังจากการประเมินผลสิ้นสุดลง จะทำให้ทราบว่าผลที่เกิดขึ้นนั้นเป็นไปตามวัตถุ ประสงค์ ที่ตั้งไว้มากน้อยเพียงใด ถ้าผลที่เกิดขึ้นไม่เป็นไปตามวัตถุ ประสงค์ ที่ตั้งไว้ก็จะต้องวิ เคราะห์ ผลย้อนกลับมาพิจารณาว่า ในการดำเนินการตั้งแต่เริ่มต้นมี ข้อบกพร่องที่ใดในระบบ ทั้งนี้เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขระบบการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น